นโยบายว่าด้วยการใช้สื่อสังคมออนไลน์

ความคืบหน้า
0%
?
X

เลือกว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในรูปแบบใด (ชื่อหัวของหนังสือ) ในกรณีที่ผู้ใช้งานเลือก "นโยบาย" หมายความว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในรูปแบบนโยบาย เช่น นโยบายการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในกรณีที่ผู้ใช้งานเลือก "ประกาศ (ระบุตำแหน่งผู้ประกาศ)" หมายความว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในรูปแบบประกาศ เช่น ประกาศกรรมการผู้จัดการเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในกรณีที่ผู้ใช้งานเลือก "คำสั่ง (ระบุตำแหน่งผู้ออกคำสั่ง)" หมายความว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในรูปแบบคำสั่ง เช่น คำสั่งกรรมการผู้จัดการเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)



คุณต้องการความช่วยเหลือส่วนบุคคลใช่หรือไม่
ในตอนท้าย คุณสามารถเลือกตัวเลือกปรึกษาทนายความได้

ช่วยเหลือ
แก้ไขแบบฟอร์ม
ดูเอกสารของคุณ

________
________

นโยบาย ________
เรื่อง การใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)

เพื่อกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ของพนักงานในกรณีต่างๆ กิจการ โดย นายจ้าง จึง มีนโยบาย เรื่อง การใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) โดยมีรายละเอียดและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 วัตถุประสงค์

นโยบายฉบับนี้ ถูกจัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ ดังต่อไปนี้

(ก) เพื่อให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรทุกคนใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ข) เพื่อกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) อย่างถูกต้องและเหมาะสม
(ค) เพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)

ข้อ 2 คำนิยาม

ภายในนโยบายฉบับนี้

(ก) "นายจ้าง" หมายความว่า ________ โดย ________ ถือบัตรประจำตัวประชาชนเลขที่ ________ สำนักงานตั้งอยู่ที่ ________

(ข) "สถานประกอบกิจการ" หรือ "กิจการ" หมายความว่า หน่วยงานและ/หรือสถานที่ของนายจ้างที่มีพนักงานทำงานอยู่ในหน่วยงานและ/หรือสถานที่นั้นๆ

(ค) "สื่อสังคมออนไลน์" หรือ "Social Media" หมายความว่า เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และ/หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังต่อไปนี้

(1) เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชันที่ผู้ใช้งานสามารถแสดงความคิดเห็นและ/หรืออภิปรายระหว่างกันได้ (Communication) อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง เว็บไซต์กระดานข่าว (Webboard) กระทู้ออนไลน์ Pantip บล็อก WordPress

(2) เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชันเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Facebook เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Google+ แอปพลิเคชัน LINE แอปพลิเคชัน WhatsApp เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Skype เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Twitter/X เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Instagram

(3) เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชันที่ผู้ใช้งานสามารถเผยแพร่และแลกเปลี่ยนเนื้อหา/และข้อมูล อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน YouTube เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Dropbox เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Google Drive เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Microsoft OneDrive

(4) เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใดที่ผู้ใช้งานสามารถนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาได้ด้วยตัวของผู้ใช้งานเอง (User-generated Content) ไม่ว่าการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาระหว่างบุคคลใดบุคคลหนึ่ง กลุ่มบุคคล หรือต่อสาธารณะ (Social Interaction)

(ง) "เนื้อหา" หมายความว่า ข้อความ ตัวอักษร บทความ ความคิดเห็น บทวิเคราะห์ รูปภาพ สัญลักษณ์ เครื่องหมาย รูปภาพประดิษฐ์ ภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ ภาพยนต์ ข้อความเสียง เสียง สิ่งบันทึกเสียง ไฟล์ข้อมูล การออกแบบ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือการสื่อสารไม่ว่าในลักษณะ รูปแบบ และวิธีใดๆ และไม่ว่าเนื้อหานั้นจะมีการจำกัดการเข้าถึงหรือไม่ก็ตาม

ข้อ 3 แนวปฏิบัติทั่วไปในการใช้สื่อสังคมออนไลน์

ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ไม่ว่าในกรณีใดๆ ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรทุกคนปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทั่วไปในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ดังต่อไปนี้

(ก) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ย่อมมีความผูกพันต่อตัวพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้น พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้นย่อมมีความรับผิดชอบต่อเนื้อหาที่ได้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนนั้น ไม่ว่า ตามกฎหมาย หรือตามสังคม

(ข) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ ไม่ว่ามีการจำกัดการเข้าถึงหรือไม่ก็ตาม ย่อมอาจเข้าถึงได้โดยสาธารณะ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม และอาจส่งผลกระทบอันไม่พึงประสงค์ได้ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์นั้นจึงควรใช้ความระมัดระวัง และใช้วิจารณญาณในการทบทวน และตรวจสอบเนื้อหาที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์อย่างถี่ถ้วน และด้วยความพยายามอย่างที่สุด เพื่อไม่ให้เนื้อหาที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(1) เนื้อหาที่เป็นเท็จ เกินความจริง บิดเบือนหรือปลอม ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ข้อมูลเท็จ (False Claim) ข่าวปลอม (Fake News)

(2) เนื้อหาที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

(3) เนื้อหาที่เป็นการสนับสนุนโดยตรงหรืออ้อม ให้มีการกระทำผิดกฎหมายหรือศีลธรรม หรือนำไปสู่ความเสื่อมเสียในวัฒนธรรมของชาติ

(4) เนื้อหาที่ทำให้เกิดความแตกแยกหรือเสื่อมเสียความสามัคคีในหมู่ประชาชน

(5) เนื้อหาที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนและ/หรือความรำคาญ

(6) เนื้อหาที่อาจทำให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ยกเว้นการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาโดยสุจริตอันเป็นการติชมด้วยความเป็นธรรมซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำ

(7) เนื้อหาที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า ความลับทางการค้า สิทธิบัตร

(8) เนื้อหาที่อาจขัดต่อกฎหมาย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง กฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ประมวลกฎหมายอาญา

(9) เนื้อหาที่อาจประกอบด้วยข้อมูลซึ่งพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นมีหน้าที่ต้องเก็บรักษาข้อมูลนั้นไว้เป็นความลับ ไม่ว่าหน้าที่ตามกฎหมายและ/หรือหน้าที่ตามสัญญาก็ตาม

(10) เนื้อหาที่อาจขัดต่อมาตรฐานวิชาชีพและ/หรือจรรยาบรรณวิชาชีพของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้น (ถ้ามี)

(ค) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ควรยึดหลักการแบ่งแยกระหว่างการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวและการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการทำงาน อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การใช้บัญชีผู้ใช้ส่วนตัว (Personal Account) สำหรับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว

(ง) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์นั้นๆ ย่อมมีหน้าที่และความรับผิดชอบต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและเงื่อนไขการใช้สื่อสังคมออนไลน์นั้นๆ ด้วย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ข้อกำหนดและเงื่อนไขการใช้เว็บไซต์สื่อสังคมออนไลน์ ข้อกำหนดและเงื่อนไขการใช้แอปพลิเคชันสื่อสังคมออนไลน์

(จ) ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรพบเห็นการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหา หรือกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้ ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้พบเห็นนั้นแจ้งให้ผู้รับผิดชอบตามนโยบายฉบับนี้ ทราบโดยมิชักช้า เพื่อดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขให้เป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ ต่อไป

ข้อ 4 บัญชีทางการ (Official Account)

เพื่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดในการประชาสัมพันธ์กิจการ ให้จัดให้มีบัญชีทางการ (Official Account) ของกิจการในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่างๆ โดยมีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้

(ก) วัตถุประสงค์

การจัดให้มีบัญชีทางการ (Official Account) ของกิจการในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่างๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้

________

(ข) แนวทางและวิธีการดำเนินการ

การจัดให้มีบัญชีทางการ (Official Account) ของกิจการในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่างๆ ให้ดำเนินการตามแนวทางและวิธีการดำเนินการ ดังต่อไปนี้

________

(ค) อำนาจและหน้าที่

การดำเนินการใดๆ ผ่านบัญชีทางการ (Official Account) ของกิจการในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่างๆ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การโพสต์เนื้อหา แชร์ รีวิว การโฆษณาประชาสัมพันธ์ (Campaign) การจัดรายการส่งเสริมการขาย (Promotion) การบริหารจัดการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การว่าจ้างบุคคลสาธารณะเพื่อการประชาสัมพันธ์ (Influencer) ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้

________

อนึ่ง เพื่อประโยชน์แห่งความชัดเจน ให้ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการ (Official Account) หมายความรวมแต่ไม่จำกัดเพียง การใช้บัญชีผู้ใช้ทางการของนายจ้างซึ่งใช้ชื่อและ/หรือเครื่องหมายการค้าของนายจ้าง นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาเกี่ยวกับนายจ้างและ/หรือของกิจการบนสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อประโยชน์ทางการค้าของนายจ้างและ/หรือของกิจการ ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานในเวลาทำงาน หรือนอกเวลาทำงาน และไม่ว่าจะเป็นการใช้งานด้วยอุปกรณ์ส่วนบุคคล (Personal Device) หรืออุปกรณ์ในการทำงานของนายจ้างและ/หรือของกิจการ

ข้อ 5 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการ (Official Account)

ภายใต้ข้อกำหนดในวรรคก่อนเรื่องบัญชีทางการ (Official Account) และนอกเหนือไปจากแนวปฏิบัติทั่วไปในการใช้สื่อสังคมออนไลน์แล้ว ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการ (Official Account) ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการ (Administrator) นั้น ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการ อย่างเคร่งครัด อีกส่วนหนึ่ง ดังต่อไปนี้

(ก) บัญชีทางการ (Official Account) ในสื่อสังคมออนไลน์ใดๆ ของนายจ้างย่อมถือเป็นสิทธิเด็ดขาดของนายจ้าง โดยที่ นายจ้างมีสิทธิความเป็นเจ้าของในบัญชีทางการและมีสิทธิบริหารจัดการบัญชีทางการดังกล่าวนั้นโดยเด็ดขาดแต่เพียงผู้เดียว

(ข) สิทธิเด็ดขาดในบัญชีทางการในวรรคก่อน หมายความรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง เพื่อน ผู้ติดตาม ข้อมูลการติดต่อ การสนทนาโต้ตอบในกล่องข้อความ ช่องแสดงความคิดเห็น เนื้อหา หรือข้อมูลทางการค้าใดๆ ที่เกิดขึ้นและ/หรือได้รับมาอันเนื่องมาจากกการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการดังกล่าว

(ค) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการในนามของนายจ้าง

โดยพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นเป็นตัวแทนของนายจ้างในการดำเนินการใช้ประโยชน์ในสื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการดังกล่าวนั้นให้เป็นไปตามนโยบายฉบับนี้

ในกรณีที่ความเป็นผู้ดูแลบัญชีทางการของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นสิ้นสุดลง ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ความเป็นพนักงานสิ้นสุดลง การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นจะต้องยุติการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการของนายจ้างและส่งมอบคืนซึ่งข้อมูลใดๆ ที่อยู่ในความครอบครองเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการคืนให้แก่นายจ้างในทันที

(ง) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการเพื่อประโยชน์ทางการค้าของนายจ้างและ/หรือของกิจการ เท่านั้น

(จ) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะไม่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยน รวมถึง ตอบโต้ เนื้อหาที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(1) เนื้อหาที่มีลักษณะการใช้ถ้อยคำที่ไม่สุภาพและไม่ให้ความเคารพแก่บุคคลหนึ่งบุคคลใด

(2) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นการโต้เถียง โต้คารม ยอกย้อน ทะเลาะกับลูกค้า อันอาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง

(3) เนื้อหาที่มีลักษณะไม่เหมาะสมกับบริบททางสังคมในสถานการณ์และช่วงเวลาเช่นนั้น

(4) เนื้อหาที่มีลักษณะลามกอนาจาร

(5) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นข่าวประชาสัมพันธ์อย่างเป็นทางการของนายจ้างและ/หรือของกิจการ การให้ข้อมูลใดๆ ต่อสื่อมวลชน การให้คำมั่นว่าจะให้หรือจะดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด หรือการให้สัญญาใดๆ แก่ลูกค้า เว้นแต่ เนื้อหาดังกล่าวนั้นจะได้รับความเห็นชอบ และ/หรือได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในนโยบายฉบับนี้

(6) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติ การล่วงละเมิด และ/หรือการคุกคาม ไม่ว่าด้วยเหตุเพราะความแตกต่างในเรื่องอาชีพ ถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สัญชาติ ภาษา สีผิว เพศ เพศวิถี อัตลักษณ์ทางเพศ อายุ สถานภาพสมรส ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สภาวะทางพันธุกรรม สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา ลัทธิ ปรัชญา การศึกษาอบรม ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใดอันเป็นการไม่เคารพต่อสิทธิ เสรีภาพขั้นพื้นฐาน และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใด

(7) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของบุคคลหนึ่งบุคคลใด

(8) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นการเปิดเผยข้อมูลทางการค้าของนายจ้างและ/หรือของกิจการอันอาจทำให้นายจ้างและ/หรือกิจการเสียประโยชน์ทางการค้า อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง รายชื่อลูกค้า รายชื่อคู่ค้า แผนการตลาด ยอดขาย ข้อมูลทางการเงิน ความลับทางการค้า ข้อมูลอื่นใด

(9) เนื้อหาที่มีลักษณะขัดต่อประกาศ คำสั่ง นโยบายฉบับอื่นๆ ของนายจ้างที่ได้ประกาศบังคับใช้

(ฉ) ในการใช้ตราสัญลักษณ์ ชื่อยี่ห้อ ชื่อกิจการ เครื่องหมายการค้า ชื่อทางการค้า ชื่อและ/หรือเครื่องหมายอื่นใดอันสามารถสื่อถึงนายจ้าง กิจการ สินค้าและ/หรือบริการของนายจ้างและ/หรือของกิจการ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะต้องใช้ชื่อและ/หรือเครื่องหมายนั้นตามที่นายจ้างกำหนด ได้รับความเห็นชอบ และ/หรือได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในนโยบายฉบับนี้ทั้งสิ้น โดยไม่มีแก้ไขเปลี่ยนแปลง ดัดแปลง ต่อเติม หรือแก้ไขชื่อและ/หรือเครื่องหมายดังกล่าว

(ช) ในกรณีที่ปรากฏข้อซักถามจากลูกค้าผ่านบัญชีทางการนั้น พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะดำเนินการให้ข้อมูล ตอบกลับ และ/หรือสนทนาโต้ตอบลูกค้าโดยมิชักช้าเมื่อได้รับข้อซักถามจากลูกค้าภายในระยะเวลาอันสมควรแก่กรณีแห่งข้อซักถามนั้น

(ซ) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะไม่กระทำการใดๆ อันเป็นการปิดกั้นการมีส่วนร่วมระหว่างลูกค้าและบัญชีทางการ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การลบความคิดเห็น การปิดกั้นการเข้าถึง เว้นแต่นายจ้างจะกำหนดเป็นอย่างอื่นในแต่ละกรณี

(ฌ) ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นพบเห็นการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาเนื้อหาที่เป็นเท็จ เกินความจริง บิดเบือนหรือปลอมเกี่ยวกับนายจ้างและ/หรือกิจการ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน เนื้อหาที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับนายจ้างและ/หรือกิจการ ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นดำเนินการแก้ไขเนื้อหานั้นด้วยการให้ข้อมูลที่ถูกต้องในทันที อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การแก้ไขเนื้อหานั้นด้วยข้อความที่ถูกต้อง การตอบกลับเนื้อหานั้นเพื่ออธิบายชี้แจงข้อเท็จจริงและ/หรือข้อมูลที่ถูกต้อง

(ญ) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการจะใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการโดยสอดคล้องกับแนวปฏิบัติ ข้อกำหนด แนวทางการทำงาน และ/หรือขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการที่นายจ้างอาจกำหนดเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากนโยบายฉบับนี้

ข้อ 6 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว

ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในกรณีส่วนตัว ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรทุกคนปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว ดังต่อไปนี้

(ก) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์นั้นจะต้องปฏิบัติตามนโยบายฉบับนี้ อย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ ตราบเท่าที่สามารถใช้บังคับได้แก่กรณี

(ข) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์นั้นจะต้องไม่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาที่อาจทำให้บุคคลทั่วไปเข้าใจได้ว่าเนื้อหาดังกล่าวนั้นเป็นเนื้อหาที่ผ่านการเห็นชอบของนายจ้างและ/หรือของกิจการ หรือเป็นเนื้อหาที่กระทำการในฐานะตัวแทนของนายจ้างและ/หรือของกิจการ เว้นแต่ ในกรณี ดังต่อไปนี้

(1) การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาทางการของนายจ้างและ/หรือของกิจการ (Official Statement) โดยการอ้างอิงเนื้อหาทางการดังกล่าว

(2) การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาซึ่งได้รับอนุญาตจากผู้มีอำนาจที่เกี่ยวข้องให้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในกรณีส่วนตัว

(ค) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ในลักษณะการแสดงความคิดเห็นส่วนตัว พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาดังกล่าวบนสื่อสังคมออนไลน์นั้นย่อมรับทราบดีว่าเป็นสิทธิและเสรีภาพของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นๆ โดยที่

(1) การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้นจะต้องเป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพโดยชอบด้วยกฎหมาย

(2) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใดๆ ของนายจ้างและ/หรือของกิจการย่อมถือเป็นตัวแทนภาพลักษณ์ของนายจ้างและ/หรือของกิจการโดยปริยาย แม้เป็นการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาใดๆ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาดังกล่าวนั้นจะต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อของนายจ้างและ/หรือของกิจการ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม เป็นสำคัญ

(3) การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้นจะต้องไม่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาอันแสดงถึงแนวความคิดและ/หรือชุดความคิดที่ไม่เหมาะกับพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่เช่นว่าในพฤติการณ์เช่นว่านั้น ไม่ว่าในด้านวัยวุฒิ คุณวุฒิ

อนึ่ง เพื่อประโยชน์แห่งความชัดเจน ให้ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว หมายความรวมแต่ไม่จำกัดเพียง การใช้บัญชีผู้ใช้ส่วนตัว (Personal Account) นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาส่วนตัวหรือเนื้อหาส่วนบุคคลบนสื่อสังคมออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานในเวลาทำงาน หรือนอกเวลาทำงาน และไม่ว่าจะเป็นการใช้งานด้วยอุปกรณ์ส่วนบุคคล (Personal Device) หรืออุปกรณ์ในการทำงานของนายจ้างและ/หรือของกิจการ

ข้อ 7 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในเวลางาน

ในขณะปฏิบัติงานและ/หรือในเวลางานซึ่งไม่ใช่เวลาพักของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากร ห้ามมิให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในขณะปฏิบัติงานและ/หรือในเวลางาน ไม่ว่าในกรณีใดๆ ยกเว้น ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นั้นมีความจำเป็นและเร่งด่วนต้องใช้ประโยชน์ของสื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในการติดต่อสื่อสารสำคัญ

โดยที่ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในขณะปฏิบัติงานและ/หรือในเวลางานในวรรคก่อนจะต้องเป็นการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(ก) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวเท่าที่จำเป็นและสมควร

(ข) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวจะต้องไม่กระทบหรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานและ/หรือการทำงานของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้น หรือพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรคนอื่น

(ค) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวจะต้องไม่ส่งผลกระทบกับผลการปฏิบัติงาน และประสิทธิภาพในการทำงาน ไม่ว่าในเชิงเวลา ปริมาณ หรือคุณภาพ

ข้อ 8 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงาน

ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในขณะปฏิบัติงานและ/หรือในเวลางานตามวรรคก่อน ห้ามมิให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวผ่านเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงาน ไม่ว่าในกรณีใดๆ ยกเว้น ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นั้นมีความจำเป็นและเร่งด่วนต้องใช้ประโยชน์ของสื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในการติดต่อสื่อสารสำคัญ

ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวผ่านเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงานในวรรคก่อน พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรตกลง ดังต่อไปนี้

(ก) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวเป็นการกระทำของตัวพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นเองทั้งสิ้น

(ข) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวจะรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดแก่นายจ้างและ/หรือทรัพย์สินของนายจ้างอันเกิดจากและเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าว อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงาน

(ค) ในกรณีที่มีบุคคลภายนอก กล่าวอ้างสิทธิ เรียกร้องค่าเสียหาย ค่าชดเชยใดๆ กับนายจ้าง อันเกิดจากและเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าว พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวจะใช้ความพยายามอย่างที่สุดเพื่อปกป้องนายจ้างจากข้อเรียกร้องนั้นๆ รวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การปัดป้อง โต้แย้งข้อเรียกร้องนั้นโดยชอบด้วยกฎหมาย และรับผิดชดใช้เงินที่นายจ้างต้องชำระค่าเสียหาย หรือค่าชดเชยใดๆ แก่บุคคลนั้นไปตามคำพิพากษาของศาลหรือได้ชำระตามคำสั่งอื่นใด โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว (ถ้ามี)

(ง) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวจะไม่ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงานในลักษณะที่ไม่เหมาะสม อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในการกระทำผิดกฎหมาย หรือการกระทำที่ขัดต่อนโยบายฉบับนี้ การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยน รวมถึง การเข้าถึงเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมในที่ทำงาน

(จ) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวตกลงและรับทราบดีว่านายจ้างอาจตรวจสอบ จำกัด และควบคุมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวผ่านเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงานตามสมควรแก่กรณีไม่ว่า ณ เวลาใดๆ โดยมิต้องบอกกล่าว ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายฉบับนี้

ข้อ 9 การแจ้งปัญหาการใช้สื่อสังคมออนไลน์

ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรต้องการแจ้งปัญหาเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ปัญหา ดังต่อไปนี้

(ก) ข้อสอบถามทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายฉบับนี้

(ข) การตีความรายละเอียดและขอบเขตการบังคับใช้นโยบายฉบับนี้

(ค) การแจ้งข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้

(ง) การปรึกษาหารือ ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรไม่แน่ใจว่าการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดการกระทำการหนึ่งจะถือเป็นการกระทำการที่ขัดต่อนโยบายฉบับนี้ หรือไม่

(จ) การขอความเห็นชอบก่อนการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดการกระทำการหนึ่งอันเกี่ยวกับนโยบายฉบับนี้

ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นแจ้งปัญหาดังกล่าวผ่านช่องทาง ดังต่อไปนี้

________

ข้อ 10 5885222582282222858858

5885222582282222 5885222582282 588522258228222285885885222882255228288258288 5885222582282222858858852228822552282882582885852825825258 588522258228222285 58852225822

(ก) 5885222582282222858858852228822552282882582885852 5885222582282222858858852 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525885582888888888888888888888888

(ข) 5885222582282222858858852228822552282882582885852825 5885222582282222858858852 58852225822822228 5885222582282 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525885582 58852225822822228 5885222582282 58852225822822228588588522288225522828825828858 5885222 5885222582282222858858852228822552282882 58852225822822228 5885222582282 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525 (8228222 525222222) 5885222582282 5885222582282 5885222582282222858858852228822552282882582885852825825258855828 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525885582888888 5885222582282 588522258228222

(ค) ลงโทษพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นตามสมควรแก่กรณีแห่งความร้ายแรงและ/หรือความเสียหาย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การตักเตือนเป็นหนังสือ การลงโทษทางวินัย การเลิกจ้าง

(ง) เรียกร้องค่าเสียหายทั้งปวงจากพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้น ในกรณีที่การปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้างและ/หรือกิจการ

(จ) เรียกร้องค่าชดเชยใดๆ จากพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้น ในกรณีที่มีบุคคลภายนอก กล่าวอ้างสิทธิ เรียกร้องค่าเสียหาย ค่าชดเชยใดๆ กับนายจ้าง อันเกิดจากและเกี่ยวกับการปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ซึ่งนายจ้างได้ชำระค่าเสียหายหรือค่าชดเชยให้แก่บุคคลนั้นไปตามคำพิพากษาของศาลหรือได้ชำระตามคำสั่งอื่นใด โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว (ถ้ามี)

อนึ่ง ให้นโยบายฉบับนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ________ ไปจนกว่าจะมีนโยบายเป็นอย่างอื่น

จึงเรียนมาเพื่อทราบ

ประกาศ ณ วันที่ ________



ลงชื่อ_______________________ผู้ออกนโยบาย
________
________

ดูเอกสารของคุณ

________
________

นโยบาย ________
เรื่อง การใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)

เพื่อกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ของพนักงานในกรณีต่างๆ กิจการ โดย นายจ้าง จึง มีนโยบาย เรื่อง การใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) โดยมีรายละเอียดและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 วัตถุประสงค์

นโยบายฉบับนี้ ถูกจัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ ดังต่อไปนี้

(ก) เพื่อให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรทุกคนใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ข) เพื่อกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) อย่างถูกต้องและเหมาะสม
(ค) เพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)

ข้อ 2 คำนิยาม

ภายในนโยบายฉบับนี้

(ก) "นายจ้าง" หมายความว่า ________ โดย ________ ถือบัตรประจำตัวประชาชนเลขที่ ________ สำนักงานตั้งอยู่ที่ ________

(ข) "สถานประกอบกิจการ" หรือ "กิจการ" หมายความว่า หน่วยงานและ/หรือสถานที่ของนายจ้างที่มีพนักงานทำงานอยู่ในหน่วยงานและ/หรือสถานที่นั้นๆ

(ค) "สื่อสังคมออนไลน์" หรือ "Social Media" หมายความว่า เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และ/หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังต่อไปนี้

(1) เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชันที่ผู้ใช้งานสามารถแสดงความคิดเห็นและ/หรืออภิปรายระหว่างกันได้ (Communication) อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง เว็บไซต์กระดานข่าว (Webboard) กระทู้ออนไลน์ Pantip บล็อก WordPress

(2) เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชันเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Facebook เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Google+ แอปพลิเคชัน LINE แอปพลิเคชัน WhatsApp เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Skype เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Twitter/X เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Instagram

(3) เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชันที่ผู้ใช้งานสามารถเผยแพร่และแลกเปลี่ยนเนื้อหา/และข้อมูล อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน YouTube เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Dropbox เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Google Drive เว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน Microsoft OneDrive

(4) เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใดที่ผู้ใช้งานสามารถนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาได้ด้วยตัวของผู้ใช้งานเอง (User-generated Content) ไม่ว่าการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาระหว่างบุคคลใดบุคคลหนึ่ง กลุ่มบุคคล หรือต่อสาธารณะ (Social Interaction)

(ง) "เนื้อหา" หมายความว่า ข้อความ ตัวอักษร บทความ ความคิดเห็น บทวิเคราะห์ รูปภาพ สัญลักษณ์ เครื่องหมาย รูปภาพประดิษฐ์ ภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ ภาพยนต์ ข้อความเสียง เสียง สิ่งบันทึกเสียง ไฟล์ข้อมูล การออกแบบ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือการสื่อสารไม่ว่าในลักษณะ รูปแบบ และวิธีใดๆ และไม่ว่าเนื้อหานั้นจะมีการจำกัดการเข้าถึงหรือไม่ก็ตาม

ข้อ 3 แนวปฏิบัติทั่วไปในการใช้สื่อสังคมออนไลน์

ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ไม่ว่าในกรณีใดๆ ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรทุกคนปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทั่วไปในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ดังต่อไปนี้

(ก) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ย่อมมีความผูกพันต่อตัวพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้น พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้นย่อมมีความรับผิดชอบต่อเนื้อหาที่ได้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนนั้น ไม่ว่า ตามกฎหมาย หรือตามสังคม

(ข) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ ไม่ว่ามีการจำกัดการเข้าถึงหรือไม่ก็ตาม ย่อมอาจเข้าถึงได้โดยสาธารณะ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม และอาจส่งผลกระทบอันไม่พึงประสงค์ได้ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์นั้นจึงควรใช้ความระมัดระวัง และใช้วิจารณญาณในการทบทวน และตรวจสอบเนื้อหาที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์อย่างถี่ถ้วน และด้วยความพยายามอย่างที่สุด เพื่อไม่ให้เนื้อหาที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(1) เนื้อหาที่เป็นเท็จ เกินความจริง บิดเบือนหรือปลอม ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ข้อมูลเท็จ (False Claim) ข่าวปลอม (Fake News)

(2) เนื้อหาที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

(3) เนื้อหาที่เป็นการสนับสนุนโดยตรงหรืออ้อม ให้มีการกระทำผิดกฎหมายหรือศีลธรรม หรือนำไปสู่ความเสื่อมเสียในวัฒนธรรมของชาติ

(4) เนื้อหาที่ทำให้เกิดความแตกแยกหรือเสื่อมเสียความสามัคคีในหมู่ประชาชน

(5) เนื้อหาที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนและ/หรือความรำคาญ

(6) เนื้อหาที่อาจทำให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ยกเว้นการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาโดยสุจริตอันเป็นการติชมด้วยความเป็นธรรมซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำ

(7) เนื้อหาที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า ความลับทางการค้า สิทธิบัตร

(8) เนื้อหาที่อาจขัดต่อกฎหมาย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง กฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ประมวลกฎหมายอาญา

(9) เนื้อหาที่อาจประกอบด้วยข้อมูลซึ่งพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นมีหน้าที่ต้องเก็บรักษาข้อมูลนั้นไว้เป็นความลับ ไม่ว่าหน้าที่ตามกฎหมายและ/หรือหน้าที่ตามสัญญาก็ตาม

(10) เนื้อหาที่อาจขัดต่อมาตรฐานวิชาชีพและ/หรือจรรยาบรรณวิชาชีพของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้น (ถ้ามี)

(ค) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ควรยึดหลักการแบ่งแยกระหว่างการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวและการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการทำงาน อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การใช้บัญชีผู้ใช้ส่วนตัว (Personal Account) สำหรับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว

(ง) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์นั้นๆ ย่อมมีหน้าที่และความรับผิดชอบต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและเงื่อนไขการใช้สื่อสังคมออนไลน์นั้นๆ ด้วย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ข้อกำหนดและเงื่อนไขการใช้เว็บไซต์สื่อสังคมออนไลน์ ข้อกำหนดและเงื่อนไขการใช้แอปพลิเคชันสื่อสังคมออนไลน์

(จ) ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรพบเห็นการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหา หรือกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้ ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้พบเห็นนั้นแจ้งให้ผู้รับผิดชอบตามนโยบายฉบับนี้ ทราบโดยมิชักช้า เพื่อดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขให้เป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ ต่อไป

ข้อ 4 บัญชีทางการ (Official Account)

เพื่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดในการประชาสัมพันธ์กิจการ ให้จัดให้มีบัญชีทางการ (Official Account) ของกิจการในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่างๆ โดยมีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้

(ก) วัตถุประสงค์

การจัดให้มีบัญชีทางการ (Official Account) ของกิจการในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่างๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้

________

(ข) แนวทางและวิธีการดำเนินการ

การจัดให้มีบัญชีทางการ (Official Account) ของกิจการในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่างๆ ให้ดำเนินการตามแนวทางและวิธีการดำเนินการ ดังต่อไปนี้

________

(ค) อำนาจและหน้าที่

การดำเนินการใดๆ ผ่านบัญชีทางการ (Official Account) ของกิจการในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่างๆ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การโพสต์เนื้อหา แชร์ รีวิว การโฆษณาประชาสัมพันธ์ (Campaign) การจัดรายการส่งเสริมการขาย (Promotion) การบริหารจัดการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การว่าจ้างบุคคลสาธารณะเพื่อการประชาสัมพันธ์ (Influencer) ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้

________

อนึ่ง เพื่อประโยชน์แห่งความชัดเจน ให้ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการ (Official Account) หมายความรวมแต่ไม่จำกัดเพียง การใช้บัญชีผู้ใช้ทางการของนายจ้างซึ่งใช้ชื่อและ/หรือเครื่องหมายการค้าของนายจ้าง นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาเกี่ยวกับนายจ้างและ/หรือของกิจการบนสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อประโยชน์ทางการค้าของนายจ้างและ/หรือของกิจการ ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานในเวลาทำงาน หรือนอกเวลาทำงาน และไม่ว่าจะเป็นการใช้งานด้วยอุปกรณ์ส่วนบุคคล (Personal Device) หรืออุปกรณ์ในการทำงานของนายจ้างและ/หรือของกิจการ

ข้อ 5 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการ (Official Account)

ภายใต้ข้อกำหนดในวรรคก่อนเรื่องบัญชีทางการ (Official Account) และนอกเหนือไปจากแนวปฏิบัติทั่วไปในการใช้สื่อสังคมออนไลน์แล้ว ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการ (Official Account) ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการ (Administrator) นั้น ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการ อย่างเคร่งครัด อีกส่วนหนึ่ง ดังต่อไปนี้

(ก) บัญชีทางการ (Official Account) ในสื่อสังคมออนไลน์ใดๆ ของนายจ้างย่อมถือเป็นสิทธิเด็ดขาดของนายจ้าง โดยที่ นายจ้างมีสิทธิความเป็นเจ้าของในบัญชีทางการและมีสิทธิบริหารจัดการบัญชีทางการดังกล่าวนั้นโดยเด็ดขาดแต่เพียงผู้เดียว

(ข) สิทธิเด็ดขาดในบัญชีทางการในวรรคก่อน หมายความรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง เพื่อน ผู้ติดตาม ข้อมูลการติดต่อ การสนทนาโต้ตอบในกล่องข้อความ ช่องแสดงความคิดเห็น เนื้อหา หรือข้อมูลทางการค้าใดๆ ที่เกิดขึ้นและ/หรือได้รับมาอันเนื่องมาจากกการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการดังกล่าว

(ค) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการในนามของนายจ้าง

โดยพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นเป็นตัวแทนของนายจ้างในการดำเนินการใช้ประโยชน์ในสื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการดังกล่าวนั้นให้เป็นไปตามนโยบายฉบับนี้

ในกรณีที่ความเป็นผู้ดูแลบัญชีทางการของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นสิ้นสุดลง ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ความเป็นพนักงานสิ้นสุดลง การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นจะต้องยุติการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการของนายจ้างและส่งมอบคืนซึ่งข้อมูลใดๆ ที่อยู่ในความครอบครองเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการคืนให้แก่นายจ้างในทันที

(ง) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการเพื่อประโยชน์ทางการค้าของนายจ้างและ/หรือของกิจการ เท่านั้น

(จ) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะไม่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยน รวมถึง ตอบโต้ เนื้อหาที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(1) เนื้อหาที่มีลักษณะการใช้ถ้อยคำที่ไม่สุภาพและไม่ให้ความเคารพแก่บุคคลหนึ่งบุคคลใด

(2) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นการโต้เถียง โต้คารม ยอกย้อน ทะเลาะกับลูกค้า อันอาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง

(3) เนื้อหาที่มีลักษณะไม่เหมาะสมกับบริบททางสังคมในสถานการณ์และช่วงเวลาเช่นนั้น

(4) เนื้อหาที่มีลักษณะลามกอนาจาร

(5) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นข่าวประชาสัมพันธ์อย่างเป็นทางการของนายจ้างและ/หรือของกิจการ การให้ข้อมูลใดๆ ต่อสื่อมวลชน การให้คำมั่นว่าจะให้หรือจะดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด หรือการให้สัญญาใดๆ แก่ลูกค้า เว้นแต่ เนื้อหาดังกล่าวนั้นจะได้รับความเห็นชอบ และ/หรือได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในนโยบายฉบับนี้

(6) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติ การล่วงละเมิด และ/หรือการคุกคาม ไม่ว่าด้วยเหตุเพราะความแตกต่างในเรื่องอาชีพ ถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สัญชาติ ภาษา สีผิว เพศ เพศวิถี อัตลักษณ์ทางเพศ อายุ สถานภาพสมรส ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สภาวะทางพันธุกรรม สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา ลัทธิ ปรัชญา การศึกษาอบรม ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใดอันเป็นการไม่เคารพต่อสิทธิ เสรีภาพขั้นพื้นฐาน และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใด

(7) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของบุคคลหนึ่งบุคคลใด

(8) เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นการเปิดเผยข้อมูลทางการค้าของนายจ้างและ/หรือของกิจการอันอาจทำให้นายจ้างและ/หรือกิจการเสียประโยชน์ทางการค้า อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง รายชื่อลูกค้า รายชื่อคู่ค้า แผนการตลาด ยอดขาย ข้อมูลทางการเงิน ความลับทางการค้า ข้อมูลอื่นใด

(9) เนื้อหาที่มีลักษณะขัดต่อประกาศ คำสั่ง นโยบายฉบับอื่นๆ ของนายจ้างที่ได้ประกาศบังคับใช้

(ฉ) ในการใช้ตราสัญลักษณ์ ชื่อยี่ห้อ ชื่อกิจการ เครื่องหมายการค้า ชื่อทางการค้า ชื่อและ/หรือเครื่องหมายอื่นใดอันสามารถสื่อถึงนายจ้าง กิจการ สินค้าและ/หรือบริการของนายจ้างและ/หรือของกิจการ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะต้องใช้ชื่อและ/หรือเครื่องหมายนั้นตามที่นายจ้างกำหนด ได้รับความเห็นชอบ และ/หรือได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในนโยบายฉบับนี้ทั้งสิ้น โดยไม่มีแก้ไขเปลี่ยนแปลง ดัดแปลง ต่อเติม หรือแก้ไขชื่อและ/หรือเครื่องหมายดังกล่าว

(ช) ในกรณีที่ปรากฏข้อซักถามจากลูกค้าผ่านบัญชีทางการนั้น พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะดำเนินการให้ข้อมูล ตอบกลับ และ/หรือสนทนาโต้ตอบลูกค้าโดยมิชักช้าเมื่อได้รับข้อซักถามจากลูกค้าภายในระยะเวลาอันสมควรแก่กรณีแห่งข้อซักถามนั้น

(ซ) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นจะไม่กระทำการใดๆ อันเป็นการปิดกั้นการมีส่วนร่วมระหว่างลูกค้าและบัญชีทางการ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การลบความคิดเห็น การปิดกั้นการเข้าถึง เว้นแต่นายจ้างจะกำหนดเป็นอย่างอื่นในแต่ละกรณี

(ฌ) ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นพบเห็นการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาเนื้อหาที่เป็นเท็จ เกินความจริง บิดเบือนหรือปลอมเกี่ยวกับนายจ้างและ/หรือกิจการ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน เนื้อหาที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับนายจ้างและ/หรือกิจการ ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการนั้นดำเนินการแก้ไขเนื้อหานั้นด้วยการให้ข้อมูลที่ถูกต้องในทันที อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การแก้ไขเนื้อหานั้นด้วยข้อความที่ถูกต้อง การตอบกลับเนื้อหานั้นเพื่ออธิบายชี้แจงข้อเท็จจริงและ/หรือข้อมูลที่ถูกต้อง

(ญ) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลบัญชีทางการจะใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการโดยสอดคล้องกับแนวปฏิบัติ ข้อกำหนด แนวทางการทำงาน และ/หรือขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้วยบัญชีทางการที่นายจ้างอาจกำหนดเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากนโยบายฉบับนี้

ข้อ 6 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว

ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในกรณีส่วนตัว ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรทุกคนปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว ดังต่อไปนี้

(ก) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์นั้นจะต้องปฏิบัติตามนโยบายฉบับนี้ อย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ ตราบเท่าที่สามารถใช้บังคับได้แก่กรณี

(ข) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์นั้นจะต้องไม่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาที่อาจทำให้บุคคลทั่วไปเข้าใจได้ว่าเนื้อหาดังกล่าวนั้นเป็นเนื้อหาที่ผ่านการเห็นชอบของนายจ้างและ/หรือของกิจการ หรือเป็นเนื้อหาที่กระทำการในฐานะตัวแทนของนายจ้างและ/หรือของกิจการ เว้นแต่ ในกรณี ดังต่อไปนี้

(1) การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาทางการของนายจ้างและ/หรือของกิจการ (Official Statement) โดยการอ้างอิงเนื้อหาทางการดังกล่าว

(2) การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาซึ่งได้รับอนุญาตจากผู้มีอำนาจที่เกี่ยวข้องให้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในกรณีส่วนตัว

(ค) เนื้อหาใดๆ ที่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนบนสื่อสังคมออนไลน์ในลักษณะการแสดงความคิดเห็นส่วนตัว พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาดังกล่าวบนสื่อสังคมออนไลน์นั้นย่อมรับทราบดีว่าเป็นสิทธิและเสรีภาพของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นๆ โดยที่

(1) การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้นจะต้องเป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพโดยชอบด้วยกฎหมาย

(2) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใดๆ ของนายจ้างและ/หรือของกิจการย่อมถือเป็นตัวแทนภาพลักษณ์ของนายจ้างและ/หรือของกิจการโดยปริยาย แม้เป็นการนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาใดๆ พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาดังกล่าวนั้นจะต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อของนายจ้างและ/หรือของกิจการ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม เป็นสำคัญ

(3) การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหานั้นจะต้องไม่นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาอันแสดงถึงแนวความคิดและ/หรือชุดความคิดที่ไม่เหมาะกับพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่เช่นว่าในพฤติการณ์เช่นว่านั้น ไม่ว่าในด้านวัยวุฒิ คุณวุฒิ

อนึ่ง เพื่อประโยชน์แห่งความชัดเจน ให้ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว หมายความรวมแต่ไม่จำกัดเพียง การใช้บัญชีผู้ใช้ส่วนตัว (Personal Account) นำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยนเนื้อหาส่วนตัวหรือเนื้อหาส่วนบุคคลบนสื่อสังคมออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานในเวลาทำงาน หรือนอกเวลาทำงาน และไม่ว่าจะเป็นการใช้งานด้วยอุปกรณ์ส่วนบุคคล (Personal Device) หรืออุปกรณ์ในการทำงานของนายจ้างและ/หรือของกิจการ

ข้อ 7 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในเวลางาน

ในขณะปฏิบัติงานและ/หรือในเวลางานซึ่งไม่ใช่เวลาพักของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากร ห้ามมิให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในขณะปฏิบัติงานและ/หรือในเวลางาน ไม่ว่าในกรณีใดๆ ยกเว้น ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นั้นมีความจำเป็นและเร่งด่วนต้องใช้ประโยชน์ของสื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในการติดต่อสื่อสารสำคัญ

โดยที่ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในขณะปฏิบัติงานและ/หรือในเวลางานในวรรคก่อนจะต้องเป็นการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(ก) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวเท่าที่จำเป็นและสมควร

(ข) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวจะต้องไม่กระทบหรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานและ/หรือการทำงานของพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้น หรือพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรคนอื่น

(ค) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวจะต้องไม่ส่งผลกระทบกับผลการปฏิบัติงาน และประสิทธิภาพในการทำงาน ไม่ว่าในเชิงเวลา ปริมาณ หรือคุณภาพ

ข้อ 8 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงาน

ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในขณะปฏิบัติงานและ/หรือในเวลางานตามวรรคก่อน ห้ามมิให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวผ่านเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงาน ไม่ว่าในกรณีใดๆ ยกเว้น ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้นั้นมีความจำเป็นและเร่งด่วนต้องใช้ประโยชน์ของสื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในการติดต่อสื่อสารสำคัญ

ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวผ่านเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงานในวรรคก่อน พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรตกลง ดังต่อไปนี้

(ก) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวเป็นการกระทำของตัวพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นเองทั้งสิ้น

(ข) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวจะรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดแก่นายจ้างและ/หรือทรัพย์สินของนายจ้างอันเกิดจากและเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าว อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงาน

(ค) ในกรณีที่มีบุคคลภายนอก กล่าวอ้างสิทธิ เรียกร้องค่าเสียหาย ค่าชดเชยใดๆ กับนายจ้าง อันเกิดจากและเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าว พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวจะใช้ความพยายามอย่างที่สุดเพื่อปกป้องนายจ้างจากข้อเรียกร้องนั้นๆ รวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การปัดป้อง โต้แย้งข้อเรียกร้องนั้นโดยชอบด้วยกฎหมาย และรับผิดชดใช้เงินที่นายจ้างต้องชำระค่าเสียหาย หรือค่าชดเชยใดๆ แก่บุคคลนั้นไปตามคำพิพากษาของศาลหรือได้ชำระตามคำสั่งอื่นใด โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว (ถ้ามี)

(ง) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวจะไม่ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงานในลักษณะที่ไม่เหมาะสม อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวในการกระทำผิดกฎหมาย หรือการกระทำที่ขัดต่อนโยบายฉบับนี้ การนำเสนอ เผยแพร่ และ/หรือแลกเปลี่ยน รวมถึง การเข้าถึงเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมในที่ทำงาน

(จ) พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวดังกล่าวตกลงและรับทราบดีว่านายจ้างอาจตรวจสอบ จำกัด และควบคุมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัวผ่านเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงานซึ่งนายจ้างจัดให้มีเพื่อประโยชน์ในการทำงานตามสมควรแก่กรณีไม่ว่า ณ เวลาใดๆ โดยมิต้องบอกกล่าว ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายฉบับนี้

ข้อ 9 การแจ้งปัญหาการใช้สื่อสังคมออนไลน์

ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรต้องการแจ้งปัญหาเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ปัญหา ดังต่อไปนี้

(ก) ข้อสอบถามทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายฉบับนี้

(ข) การตีความรายละเอียดและขอบเขตการบังคับใช้นโยบายฉบับนี้

(ค) การแจ้งข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้

(ง) การปรึกษาหารือ ในกรณีที่พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรไม่แน่ใจว่าการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดการกระทำการหนึ่งจะถือเป็นการกระทำการที่ขัดต่อนโยบายฉบับนี้ หรือไม่

(จ) การขอความเห็นชอบก่อนการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดการกระทำการหนึ่งอันเกี่ยวกับนโยบายฉบับนี้

ให้พนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นแจ้งปัญหาดังกล่าวผ่านช่องทาง ดังต่อไปนี้

________

ข้อ 10 5885222582282222858858

5885222582282222 5885222582282 588522258228222285885885222882255228288258288 5885222582282222858858852228822552282882582885852825825258 588522258228222285 58852225822

(ก) 5885222582282222858858852228822552282882582885852 5885222582282222858858852 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525885582888888888888888888888888

(ข) 5885222582282222858858852228822552282882582885852825 5885222582282222858858852 58852225822822228 5885222582282 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525885582 58852225822822228 5885222582282 58852225822822228588588522288225522828825828858 5885222 5885222582282222858858852228822552282882 58852225822822228 5885222582282 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525 (8228222 525222222) 5885222582282 5885222582282 5885222582282222858858852228822552282882582885852825825258855828 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525885582888888 5885222582282 588522258228222

(ค) ลงโทษพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้นตามสมควรแก่กรณีแห่งความร้ายแรงและ/หรือความเสียหาย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การตักเตือนเป็นหนังสือ การลงโทษทางวินัย การเลิกจ้าง

(ง) เรียกร้องค่าเสียหายทั้งปวงจากพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้น ในกรณีที่การปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้างและ/หรือกิจการ

(จ) เรียกร้องค่าชดเชยใดๆ จากพนักงาน ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือบุคลากรนั้น ในกรณีที่มีบุคคลภายนอก กล่าวอ้างสิทธิ เรียกร้องค่าเสียหาย ค่าชดเชยใดๆ กับนายจ้าง อันเกิดจากและเกี่ยวกับการปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ซึ่งนายจ้างได้ชำระค่าเสียหายหรือค่าชดเชยให้แก่บุคคลนั้นไปตามคำพิพากษาของศาลหรือได้ชำระตามคำสั่งอื่นใด โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว (ถ้ามี)

อนึ่ง ให้นโยบายฉบับนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ________ ไปจนกว่าจะมีนโยบายเป็นอย่างอื่น

จึงเรียนมาเพื่อทราบ

ประกาศ ณ วันที่ ________



ลงชื่อ_______________________ผู้ออกนโยบาย
________
________